ประเมินวงเงินรู้ผลใน 3 นาที
กับ กรุงศรี ออโต้ พร้อมสตาร์ท

เริ่มประเมินวงเงินพร้อมสตาร์ท
ผ่านมือถือ สแกนเลย

ดูวงเงินพร้อมสตาร์ทที่ได้รับ

  • ดอกเบี้ยเงินฝาก
  • ดอกเบี้ยเงินฝาก
  • ค้นหาแบบละเอียด
  • บัญชีเงินฝากปลอดภาษี แบบมีสมุดคู่ฝาก/แบบไม่มีสมุดคู่ฝาก-ธนาคารเกียรตินาคินภัทร (KKP)

    ดอกเบี้ย : 2.950 - 3.000 %
    • ข้อมูล ณ วันที่ 30 พ.ค. 67
    • 149
    จุดเด่น
    บัญชีปลอดภาษีสำหรับลูกค้าบุคคลธรรมดา วงเงินฝากขั้นต่ำ 500 บาท อัตราดอกเบี้ยสูง มีให้เลือก 2 ระยะเวลาฝาก บัญชีฝากประจำ 24 เดือน และ 36 เดือน

    รายละเอียดบัญชี

    สถาบันการเงิน
    :
    ชื่อบัญชี
    :
    บัญชีเงินฝากปลอดภาษี แบบมีสมุดคู่ฝาก/แบบไม่มีสมุดคู่ฝาก
    ลักษณะบัญชี
    :
    ต้องฝากทุกเดือน
    ผู้มีสิทธิฝากและคุณสมบัติ
    :
    เปิดบัญชีขั้นต่ำ
    :
    500 บาท
    ระยะเวลาฝากขั้นต่ำ
    :
    24, 36 เดือน
    ประเภทอัตราดอกเบี้ย
    :
    แบบอัตราคงที่
    อัตราดอกเบี้ย
     
    ระยะเวลาฝาก ช่วงเงินฝากที่เลือก บุคคลธรรมดา นิติบุคคลทั่วไป นิติบุคคลที่ไม่แสวงหากำไร ราชการ รัฐวิสาหกิจ
    24 เดือน ตั้งแต่ 500 2.950 % - - - -
    36 เดือน ตั้งแต่ 500 3.000 % - - - -
    หมายเหตุ
    :
    อ้างอิงจากอัตราดอกเบี้ยธนาคารตามประกาศฉบับล่าสุด ดูได้ที่นี่
    รายละเอียดดอกเบี้ย
    :
    -
    เงื่อนไขสำคัญ
    :
    1. ผู้ฝากสามารถเปิดบัญชีแบบมีสมุดคู่ฝากผ่านสาขาธนาคาร ได้เฉพาะบุคคธรรมดา สัญาชาติไทย ที่มีบัตรประชาชนแบบ Smart Card และต้องเปิดเป็นบัญชีเดี่ยว และ/หรือ บัญชี "เพื่อ" ผู้เยาว์เท่านั้น
    2. ผู้ฝากสามารถเปิดบัญชีนี้แบบไม่มีสมุดคุ่ฝากผ่านช่องทาง KKP Mobile Application ได้เฉพาะ บุคคลธรรมดา สัญชาติไทย ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีบัตรประชาชนแบบ Smart Card
    3. ผู้ฝาก 1 ราย เปิดได้ 1 บัญชีเท่านั้น (ทุกธนาคารรวมกัน)
    4. ผู้ฝากจะต้องมีบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ของธนาคาร เพื่อใช้รับดอกเบี้ยและยินยอมให้ธนาคารหักเงินจากบัญชีดังกล่าว เพื่อฝากเข้าบัญชีในทุกเดือนจนครบระยะเวลาฝาก โดยชื่อบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ต้องตรงกับชื่อบัญชี้นี้
    5. ผู้ฝากต้องนำฝากให้ครบตามระยะเวลาฝากที่กำหนด จึงจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กรมสรรพกรกำหนด
    6. ผู้ฝากสามารถขาดฝากรวมกันได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ตลอดระยะเวลาฝาก
    7. สำหรับการฝากเงินในบัญชีเงินฝากปลอดภาษี แบบไม่มีสมุคู่ฝาก ผู้ฝากต้องมี Email Address และต้องสมัครใช้บริการ KKP e-Banking เพื่อใช้สำหรับการเปิดบัญชี และทำธุรรรมนำฝากเงินเข้าบัญชีนี้
    8. ผู้ฝากสามารถเปิดบัญชีได้ด้วยตนเองผ่าน KKP Mobile Application ต้งแต่เวลา 06.00 - 22.00 น. โดยทำการพิสูจน์และยืนยันตัวตนผ่านบริการ NDID หรือสามารถพิสูจน์และยืนยันตัวตนได้ที่ AIS Smart Kiosk โดยสามารถตรวจสอบรายละเอียดจุดให้บริการได้ที่ URL:https://www.ais.th/servicecenter/
    9. จำนวนเงินเปิดบัญชีขั้นต่ำ 500 บาท หรือเป็นจำนวนที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 500 บาท เช่น 500, 1,000 และ 1,500 บาท เป็นต้น
    10. การฝากเป็นการฝากเงินติดต่อกันทุกๆ เดือน เดือนละ 1 ครั้ง ด้วยการหักยอดเงินฝากจากบัญชีเงินฝากออททรัพย์ที่ผู้ฝากเลือกไว้ตอนเปิดบัญชีโดยยอดเงินฝากจะเป็นยอดที่เท่ากันภับยอดเงินที่ฝากในครั้งแรก
    11. ธนาคารสงวนสิทธิ์ในการเปิดบัญชีใหม่ และรับฝากเงินในบัญชีนี้ รับฝากเฉพาะพนักงานของธนาคารผู้ได้รับเรียนเชิญเท่านั้นในช่วง Soft launch ตั้งแต่วันที่ 28 พ.ค. 67 และตั้แต่ 13 มิ.ย. 67 เป็นต้นไป เปิดให้บริการแก่ลูกค้าทั่วไป
    การจ่ายดอกเบี้ย
    :
    จ่ายดอกเบี้ยเมื่อครบกำหนด
    สิทธิการถอนก่อนกำหนด
    :
    • การถอนเงินไม่สามารถทำรายการถอนบางส่วนได้ การถอนเงินจะเป็นการถอนเพื่อปิดบัญชีเท่านั้น
    • กรณีที่ผู้ฝากขาดฝากมากกว่า 2 ครั้งขึ้นไป หรือทำรายการถอนเงินก่อนครบระยะเวลาฝาก ธนาคารจะเนินการปิดบัญชี และจะดำเนินการโอนยอดเงินฝากและดอกเบี้ยเข้าบัญชีออมทรัพย์คู่โอน ดังนี้
      - ระยะเวลาฝากไม่ถึง 3 เดือน นับจากวันที่ฝากธนาคารจะไม่จ่ายดอกเยี้ย
      - ระยะเวลาฝากตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไป นับจากวันที่ฝากแต่ไม่ครบกำหนดระะเวลาฝาก ธนาคารจะจ่ายดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยผิดเงื่อนไข 0.25% ต่อปี ณ วันที่ถอนเพื่อปิดบัญชีซึ่งจะคำนวนตามระยะเวลาฝาก และดอกเบี้ยรับจะถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามเกณธ์ที่กรมสรรพกากรกำหนด
    ช่วงที่เปิดรับฝาก
    :
    ตั้งแต่ 28 พ.ค. 67
    สอบถามเพิ่มเติม
    :
    Tel. 02 165 5555
    คำแนะนำการใช้ข้อมูล
    :
    1. อย่าฝากเงินโดยดูดอกเบี้ยเพียงอย่างเดียวแต่ควรพิจารณาเงื่อนไข ความสะดวกและความมั่นคงของสถาบันการเงินประกอบทุกครั้ง
    2. รายละเอียดที่นำเสนอเป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้น โปรดตรวจสอบอัตราดอกเบี้ย เงื่อนไขและรายละเอียดเกี่ยวกับบัญชีเงินฝากกับธนาคารทุกครั้งก่อนตัดสินใจ
    update ณ วันที่
    :
    30 พ.ค. 67
    แนะนำเงินฝากประจำ